หลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับรายการหนี้สินและส่วนของเจ้าของ  ความหมายของหนี้สินประเภทต่างๆ การจำแนกประเภท การวัดมูลค่า และการรับรู้รายการหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไม่หมุนเวียน ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น การตีราคา การแสดงรายการในงบการเงิน และหลักการเปิดเผยข้อมูล  การแสดงรายการในงบการเงิน และหลักการเปิดเผยข้อมูล  การบัญชีเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนว่าด้วยการจัดตั้งการดำเนินงาน การแบ่งผลกำไรขาดทุน การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน การเลิกกิจการและการชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วน  การบัญชีสำหรับบริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัด ว่าด้วยการจัดตั้งบริษัท การจำหน่ายหุ้น การจัดทำงบการเงิน การเพิ่มทุนและการลดทุน ส่วนเกินทุน ประเภทต่างๆ กำไรต่อหุ้น การจัดสรรกำไรสะสม การเลิกบริษัท และการชำระบัญชี การแสดงรายการส่วนของเจ้าของในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล และการจัดทำงบกระแสเงินสด

        ความหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการบัญชี มาตรฐานรายงานทางการเงิน หลักการ และวิธีการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู่การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป และการผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การปรับปรุง และปิดบัญชีเมื่อสิ้นงวด การจัดทำงบทดลอง กระดาาทำการ และงบการเงินสำหรับกิจการให้บริการกิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม การบันทึกเกี่ยวกับเงินสด เงินสดย่อย และระบบใบสำคัญ

               ศึกษาการจัดการกิจกรรมทางการเงินและหน้าที่ของผู้บริหารการเงิน ทั้งในด้านการจัดหาและการจัดสรรเงินทุนธุรกิจ ตลอดจนเทคนิคที่ใช้ในการวิเคราะห์และประเมินผลทางการเงิน

การบริหารต้นทุนโลจิสติกส์  

                องค์ประกอบของต้นทุนโลจิสติกส์ การวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์ การประเมินทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ การแสวงหาทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม  การควบคุมต้นทุนโลจิสติกส์ การตัดสินใจเชิงนโยบายในการลดต้นทุน การประยุกต์ต้นทุนในการตัดสินใจ ด้านนโยบาย การปรับปรุงการวิเคราะห์ต้นทุน การวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์ การประเมินทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ การแสวงหาทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ  การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม  การควบคุมต้นทุนโลจิสติกส์  การตัดสินใจเชิงนโยบายในการลดต้นทุน การประยุกต์ต้นทุนในการตัดสินใจ ด้านนโยบาย การปรับปรุงการวิเคราะห์ต้นทุน

คำอธิบายรายวิชา   3(3-0-6) 
วิชาบังคับก่อน :41 3204  การบัญชีต้นทุน1

          บทบาทของการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ  การคำนวณต้นทุนตามระบบต้นทุนผันแปรและต้นทุนรวม ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริมาณ และกำไร  การวิเคราะห์ต้นทุน การวิเคราะห์ผลต่าง ข้อมูลทางต้นทุนที่ใช้ในการตัดสินใจ  การกำหนดราคาสินค้า และราคาโอน  การใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินกิจการเพื่อความยั่งยืนภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน  การวิเคราะห์จ่ายลงทุน การจัดทำงบประมาณ การควบคุมคุณภาพ การวัดผลการดำเนินงานที่ไม่เป็นตัวเงิน และการวัดผลการเกณฑ์มาตรฐา